ค้นเจอ 83 รายการ

ขุนไม่เชื่อง

หมายถึง(สำ) ว. เลี้ยงไม่เชื่อง มีแต่เนรคุณ.

ขุนไม่ขึ้น

หมายถึง(สำ) ว. เลี้ยงไม่เชื่อง มีแต่เนรคุณ.

เชื่อง

หมายถึงว. ไม่เปรียว, ที่คุ้นกับคน, (ใช้แก่สัตว์).

ขุน

หมายถึงน. ผู้เป็นใหญ่, หัวหน้า, บรรดาศักดิ์ข้าราชการรองจากหลวงลงมา เช่น ขุนวิจิตรมาตรา; เรียกหมากรุกตัวสำคัญที่สุด. ว. ใหญ่ เช่น ขุนเขา.

ขุน

หมายถึงก. ให้อาหารแก่สัตว์เลี้ยง, โดยปริยายหมายถึงเลี้ยงดูอย่างดี.

เลี้ยงไม่เชื่อง

หมายถึงก. อาการของสัตว์บางชนิดเช่นนกกระจอกแม้จะเอามาเลี้ยงอย่างไร ๆ ก็ไม่เชื่อง, โดยปริยายหมายความว่า เนรคุณ.

ทานต์

หมายถึง(แบบ) ว. เชื่อง, ใจเย็น, ใจดี. (ส.).

แห

หมายถึง(ถิ่น-ปักษ์ใต้, อีสาน) ว. เปรียว, ไม่เชื่อง.

ดือ

หมายถึง(กลอน) น. สะดือ เช่น ขุนช้างฉุดผ้าคว้าจิ้มดือ. (ขุนช้างขุนแผน).

เพโท

หมายถึงก. นั่งอย่างภาคภูมิ. (ขุนช้างขุนแผน).

รุกฆาต

หมายถึงก. เดินหมากรุกเข้าไปจะกินขุนของอีกฝ่ายหนึ่ง พร้อมกันนั้นก็เตรียมจะกินหมากอีกตัวหนึ่งด้วย ถ้าฝ่ายนั้นถอยขุนหนีก็จะกินหมากตัวที่เหลือ เช่น รุกฆาตขุนฆาตเรือ ถ้าถอยขุนหนีก็จะกินเรือ, (ใช้ในการเล่นหมากรุก).

บ้าหว่า

หมายถึง[-หฺว่า] น. เครื่องประดับข้อมืออย่างหนึ่ง. (ขุนช้างขุนแผน).

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ