ตัวกรองผลการค้นหา
กบาล, กระบาล เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
กะบาล, -บาน เป็นคำที่เขียนผิด ❌
ป
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๒๗ เป็นพวกอักษรกลาง เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น บาป เนปจูน, ตัว ป ที่ขึ้นต้นของคำหรือพยางค์ในภาษาบาลีและสันสกฤตมักแผลงมาเป็นตัว บ ในภาษาไทย เช่น ปท ปิตา เป็น บท บิดา.
ปัจเจก,ปัจเจก-
หมายถึง[ปัดเจก, ปัดเจกะ-, ปัดเจกกะ-] (แบบ) ว. เฉพาะตัว, เฉพาะบุคคล, เช่น ปัจเจกชน. (ป.).
กริณี,กรินี
หมายถึง[กะ-] (แบบ) น. ช้างพัง, ใช้ว่า กิริณี หรือ กิรินี ก็มี. (ส. กริณี; ป. กรินี).
ครุก,ครุก-
หมายถึง[คะรุกะ-] (แบบ) ว. หนัก เช่น ครุกาบัติ ว่า อาบัติหนัก. (ป.).
กฏุก-
หมายถึง[กะตุกะ-] ว. เผ็ด, เผ็ดร้อน, เช่น ตรีกฏุก หมายถึงเครื่องยาที่เผ็ดร้อนรวม ๓ อย่าง คือ พริกไทย ดีปลี ขิงแห้ง. (ป.).
สูจกะ
หมายถึง[-จะกะ] น. ผู้ชี้แจง; ผู้นำจับ; ผู้ส่อเสียด. (ป., ส.).
กถิกาจารย์
หมายถึง[กะถิกาจาน] (แบบ) น. อาจารย์ผู้กล่าว. (ป., ส. กถิก + ส. อาจารฺย).
รัมก,รัมก-
หมายถึง[รำมะกะ-] น. เดือน ๕. (ป. รมฺมก; ส. รมฺยก).
ศกฏะ
หมายถึง[สะกะตะ] น. เกวียน. (ส.; ป. สกฏ).
อดิเรกลาภ
หมายถึง[อะดิเหฺรกกะลาบ] น. อติเรกลาภ, ลาภพิเศษ. (ป., ส. อติเรกลาภ).
อหิวาต์,อหิวาตกโรค
หมายถึง[อะหิวาตะกะ-] น. ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง มีอาการลงราก. (ป.).