ตัวกรองผลการค้นหา
อุตดม,อุตตมะ,อุตม,อุตม-
หมายถึง[อุดดม, อุดตะมะ-] ว. สูงสุด, ยิ่ง, เลิศ, มากมาย, บริบูรณ์. (ป., ส. อุตฺตม).
นายประเพณี
หมายถึง(โบ) น. หัวหน้ารักษาประโยชน์ของวัดและบำรุงวัดได้บังคับว่ากล่าวทั่วไป (ทำนองมรรคนายก). (ประชุมพงศ.).
จำเบศ
หมายถึงความหมายอย่างเดียวกับ จำบัง แต่เพื่อประโยชน์ในกลอนจึงใช้ ศ เข้าลิลิต เช่น หมู่โยธาโยเธศ รู้จำเบศจำบัง. (ม. คำหลวง มหาราช).
หางข้าว
หมายถึงน. ข้าวเปลือกที่ยังมีข้าวลีบปนอยู่มาก; (โบ) จำนวนข้าวที่หลวงเรียกเก็บเป็นภาษี. (พงศ. ร. ๒).
กตเวทิตา
หมายถึง[กะตะ-] น. ความเป็นผู้ประกาศคุณท่าน, ความเป็นผู้สนองคุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตัญญุตา. (ป.).
สถาปัตยกรรมศาสตร์
หมายถึง[สะถาปัดตะยะกำมะสาด] น. วิชาว่าด้วยการออกแบบงานก่อสร้างที่ประกอบด้วยศิลปลักษณะ.
เหมันต,เหมันต-,เหมันต์
หมายถึง[เหมันตะ-] น. ฤดูหนาว ในคำว่า ฤดูเหมันต์, เหมันตฤดู ก็ว่า. (ป., ส.).
จิตกาธาน
หมายถึง[จิดตะ-] น. เชิงตะกอน (สำหรับเจ้านาย), (ราชา) พระจิตกาธาน. (ป., ส. จิตก + อาธาน).
นัฏ,นัฏกะ
หมายถึง[นัด, นัดตะกะ] (แบบ) น. ผู้ฟ้อนรำ. (ป., ส. นฏฺฏ, นฏฺฏก).
ประทุษฏจิต,ประทุษฐจิต
หมายถึง[ปฺระทุดตะจิด, ปฺระทุดถะจิด] น. จิตร้าย, จิตโกรธ.
กระจร
หมายถึง(กลอน) น. ต้นสลิด เช่น กระทุ่มกระจรแล้ คชน้าวกาหลง. (พงศ. เหนือ). (แผลงมาจาก ขจร).
ผย่ำเผยอ
หมายถึง[ผะหฺยํ่าผะเหฺยอ] ก. ปํ้า ๆ เป๋อ ๆ เช่น ทำหาวเรอพูดผยํ่าเผยอ. (พงศ. เลขา).