ตัวกรองผลการค้นหา
กะ
หมายถึงน. ส่วนของสมอแบบหนึ่ง ลักษณะคล้ายแขนยื่นออกไป ๒ ข้าง สำหรับช่วยยึดเกาะติดพื้นท้องน้ำ.
หมายถึงว. ใช้รวมกับคำวิเศษณ์ เช่น เหมือนกะ ราวกะ ถึงกะ. บ. ใช้นำหน้าผู้รับพูดหรือรับบอก เช่น พี่พูดกะน้อง เขากล่าวกะฉัน เขาบอกกะท่าน. สัน. ใช้แทนคำว่า กับ เช่น ยายกะตา, ใช้แทนคำว่า แก่ เช่น มีกะใจ. (เป็นคำเสียงกร่อนมาจาก กับ หรือ แก่).
ตาหวาน
หมายถึงดู ตาพอง ๓.
กระเพาะ เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
กะเพาะ, กะเพราะ, กระเพราะ เป็นคำที่เขียนผิด ❌
ตาโต
กังกะ
หมายถึง(แบบ) น. เหยี่ยว เช่น เกิดเป็นภักษแก่กังกโกรญจคฤธรกา บินมาวว่อนร่อน ก็ร้อง. (สมุทรโฆษ).
ภาณกะ
หมายถึง[พานะกะ] (แบบ) น. ผู้สวด, ผู้กล่าว, ผู้บอก. (ป.).
มฤตกะ
หมายถึง[มะรึตะกะ] น. ผู้ตาย, ซากศพ. (ส. มฺฤตก; ป. มตก).
สตกะ
หมายถึง[สะตะ-] น. หมวด ๑๐๐, จำนวนร้อย. (ป.).
โอกะ
หมายถึงน. นํ้า; ที่อยู่. (ป.).
เฌอ เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
กะเฌอ เป็นคำที่เขียนผิด ❌
กะลา
หมายถึงน. ส่วนแข็งที่หุ้มเนื้อมะพร้าว ถ้าผ่าซีก ซีกที่มีตา เรียกว่า กะลาตัวผู้ ซีกที่ตัน เรียกว่า กะลาตัวเมีย; เรียกถ้วยชามชนิดเลวเนื้อหยาบหนาว่า ชามกะลา; เรียกผมที่ตัดเป็นรูปกะลาครอบว่า ผมทรงกะลาครอบ; เรียกหมวกที่มีรูปคล้ายกะลาครอบว่า หมวกกะลา หรือ หมวกกะลาครอบ; (ปาก) กะโหลก เป็นคำไม่สุภาพ เช่น ไม่เจียมกะลาหัว คุ้มกะลาหัว. (สำ) ว. ไม่มีค่า เช่น เก่ากะลา.