ค้นเจอ 5,800 รายการ

ทุกรกิริยา เป็นคำที่ถูกต้อง ✅

ทุกขกิริยา, ทุกขรกิริยา เป็นคำที่เขียนผิด ❌

ทิวส,ทิวส-,ทิวสะ

หมายถึง[ทิวะสะ] (แบบ) น. วัน. (ป., ส.).

อังกุระ,อังกูร

หมายถึง[-กูน] น. หน่อ, หน่อเนื้อเชื้อไข, เชื้อสาย; มักใช้ อังกูร เป็นส่วนท้ายของสมาส เป็น อางกูร เช่น พุทธางกูร นรางกูร. (ป., ส.).

ศกุนิ

หมายถึงน. นก. (ส.; ป. สกุณิ).

ขัค

หมายถึง(แบบ) น. ขรรค์ เช่น สุรขัคอนันต์. (สมุทรโฆษ). (ป. ขคฺค; ส. ขฑฺค).

บาทรช,บาทรัช

หมายถึง[บาดทะรด, บาดทะรัด] น. ละอองเท้า. (ส. ปาทรช).

ประติมากร

หมายถึง[ปฺระติมากอน] น. ช่างปั้น, ช่างแกะสลัก.

อเนกรรถประโยค

หมายถึง[อะเนกัดถะปฺระโหฺยก] น. ประโยคใหญ่ที่มีใจความสำคัญอย่างน้อย ๒ ใจความมารวมกัน และใจความนั้น ๆ จะต้องมีลักษณะเป็นประโยคโดยมีสันธานเป็นบทเชื่อมหรือละสันธานไว้ในฐานที่เข้าใจ.

จตุรมุข

หมายถึง(กลอน) น. “ผู้มี ๔ หน้า” คือ พระพรหม.

จุลอุปรากร

หมายถึงน. ละครประเภทหนึ่ง มีดนตรีเป็นส่วนประกอบสำคัญ ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงผสมวงดุริยางค์คล้ายอุปรากรแต่มีบทสนทนา เนื้อเรื่องมีความร่าเริงขบขัน และมักจบลงด้วยความสุข. (อ. operetta).

ธนุ,ธนุรญ

หมายถึง(แบบ) น. ธนู. (ป.).

อายุรกรรม

หมายถึงน. การรักษาโรคทางยา.

 คำไทยที่มักเขียนผิด จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ